วิสัยทัศน์/พันธกิจ

วิสัยทัศน์(Vision) และพันธกิจ(mission) การพัฒนาเทศบาลเมืองพะเยา
วิสัยทัศน์ (Vision)
“ เทศบาลยุคใหม่  ร่วมใจพัฒนา  เศรษฐกิจก้าวหน้า  พร้อมสู่ประชาคมอาเซียน

นิยาม
ตัวชี้วัด
เทศบาลยุคใหม่
-  บริหารจัดการแบบบูรณาการภายใต้หลักธรรมาภิบาล
-  พัฒนาระบบงานให้มีประสิทธิภาพ โดยพัฒนาระบบการบริหารจัดการและทำงานแบบมีส่วนร่วม
-  พัฒนาศักยภาพบุคลากร/ชุมชน/เครือข่าย
-  ส่งเสริมการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการทำงาน
-           
ร่วมใจพัฒนา
-  คุณภาพชีวิต
-  สิ่งแวดล้อม
-  ส่งเสริมวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี


เศรษฐกิจก้าวหน้า
- พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
- ส่งเสริมการท่องเที่ยว/ธุรกิจบริการ
- สร้างอาชีพ
-           
พร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
- เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนมุ่งสู่ประชาคมอาเซียน



-ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาเพิ่มขึ้น
-ทุกสำนัก/กอง มีอุปกรณ์การทำงานที่
 ทันสมัย
-บุคลากรได้รับการอบรม



-ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
-ประชาชนรักและต้องการดูแลสิ่ง  แวดล้อมมากขึ้น
-ประชาชนส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณี
 ภูมิปัญญาท้องถิ่นมากขึ้น

-ประชาชนมีระบบสาธารณูปโภคที่  ครอบคลุม
-ประชาชนมีอาชีพและรายได้เพิ่มขึ้น

 -บุคลากรและประชาชนมีความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนมากขึ้น

พันธกิจ (mission)
                  ๑. พัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
                   ๒. ยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน
         ๓. บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
                   ๔. เสริมสร้างสมรรถนะองค์กรภายใต้หลักธรรมาภิบาล       
ยุทธศาสตร์การพัฒนาเทศบาลเมืองพะเยา  มี 5 ยุทธศาสตร์ และมีแนวทางการพัฒนา  ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านพัฒนาระบบเศรษฐกิจ   มีแนวทางการพัฒนา  ได้แก่
๑.๑ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการดำรงชีวิต
              ของประชาชน
๑.๒ พัฒนา สนับสนุน ส่งเสริม และบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว กิจกรรมการท่องเที่ยว
               อย่างยั่งยืน
๑.๓ เสริมสร้างอาชีพในชุมชนและยกระดับมาตรฐานฝีมือแรงงาน
                  
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต  มีแนวทางการพัฒนา  ได้แก่
.๑  การพัฒนาการศึกษาทุกระดับ
๒.๒  ส่งเสริม สนับสนุน การจัดบริการสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ครอบคลุม
               กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่
๒.๓  ส่งเสริม สนับสนุน การจัดสวัสดิการประชาชน
๒.๔  การสงเคราะห์ พัฒนาคุณภาพชีวิต  ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย
๒.๕  อนุรักษ์  และส่งเสริมการฟื้นฟูวัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาของท้องถิ่น
๒.๖  การเสริมสร้างองค์ความรู้ภาคประชาชน
๒.๗  เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนมุ่งสู่ประชาคมอาเซียน
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม  มีแนวทางการพัฒนา  ได้แก่
๓.๑ การอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยืน
๓.๒ การแก้ไขปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ด้านรักษาความมั่นคงและความสงบเรียบร้อย  มีแนวทางการพัฒนา  ได้แก่
๔.๑ ปกป้อง เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์  และเสริมสร้างความ
              ปรองดองสมานฉันท์ ของคนในชาติ
๔.๒ เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับปัญหาภัยธรรมชาติ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
4.3 การรักษาความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ยุทธศาสตร์ที่ 5  ด้านการพัฒนาสมรรถนะองค์กร  มีแนวทางการพัฒนา  ได้แก่
๕.๑ เพิ่มศักยภาพบุคลากรในองค์กร
๕.๒ การจัดการวัสดุ ครุภัณฑ์ เพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
๕.๓ ส่งเสริมการบริหารงานแบบบูรณาการทั้งภาครัฐและเอกชน
๕.๔ ส่งเสริมการบริหารองค์กรภายใต้หลักธรรมาภิบาล

บทที่  ๔  รายละเอียดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา๑. ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบเศรษฐกิจ
พันธกิจ
          พัฒนาระบบเศรษฐกิจ
เป้าประสงค์
          ประชาชนมีรายได้เพียงพอกับการดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน ผลิตภัณฑ์สินค้ามีคุณภาพ       หมู่บ้าน/ชุมชนมีโครงสร้างพื้นฐานที่ได้มาตรฐาน ประชาชนได้รับความสะดวกปลอดภัยในการดำรงชีวิตแหล่งท่องเที่ยวและภาคบริการมีการบริหารจัดการที่ดีมีคุณภาพ
ตัวชี้วัดระดับเป้าประสงค์

          จำนวนประชาชนที่ได้รับการดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน โดยมีโครงสร้างพื้นฐานที่ได้มาตรฐาน ได้รับความสะดวกปลอดภัยในการดำรงชีวิต  แหล่งท่องเที่ยวและภาคบริการมีการบริหารจัดการที่ดีมีคุณภาพมากขึ้น




กลยุทธ์ / แนวทางการพัฒนา และตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์



กลยุทธ์ / แนวทางการพัฒนา


ตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์
๑.๑ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน  เพื่อรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการดำรงชีวิตของประชาชน
- จำนวนประชาชนที่ได้รับความสะดวก ปลอดภัยในโครงสร้างพื้นฐานที่ได้มาตรฐาน 
๑.๒  พัฒนา สนับสนุน ส่งเสริมและบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว กิจกรรมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
๑.๓  เสริมสร้างอาชีพในชุมชนและยกระดับมาตรฐานฝีมือแรงงาน
 - ร้อยละของแหล่งท่องเที่ยวและภาคบริการมีการบริหารจัดการมีคุณภาพ

จำนวนประชาชนมีรายได้พอเพียงกับการดำรงชีวิต ผลิตภัณฑ์สินค้ามีคุณภาพ

หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
          สำนักปลัดฯ/กองช่าง/กองสวัสดิการฯ/กองสาธารณสุขฯ
ความเชื่อมโยง
          ๑. ยุทธศาสตร์จังหวัดพะเยา ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ส่งเสริมการเกษตรปลอดภัยและการค้าการลงทุนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
          ๒. ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดพะเยา ยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาระบบเศรษฐกิจ และยุทธศาสตร์ที่ ๒ ด้านพัฒนาสังคม การศึกษาและวัฒนธรรม
  
 ๒. ยุทธศาสตร์ด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต
พันธกิจ
          ยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน
เป้าประสงค์
          มีการศึกษาทั้งในและนอกระบบอย่างทั่วถึง เสมอภาคและมีคุณภาพ มีสุขภาพอนามัยที่ดีทั้งร่างกาย  และจิตใจ  ศาสนา  ศิลปวัฒนธรรม  มีประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่นได้รับการอนุรักษ์ ทำนุบำรุงและสืบสาน สามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข  เป็นธรรมและเสมอภาค มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน รวมทั้งสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนพร้อมสู้ประชาคมอาเซียน
ตัวชี้วัดระดับเป้าประสงค์
          จำนวนประชาชน/นักเรียนที่ได้รับการศึกษาทุกระดับ  เสมอภาคและมีคุณภาพ  มีสุขภาพอนามัย   ที่ดีทั้งร่างกาย และจิตใจ  ศาสนา  ศิลปวัฒนธรรม  ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่นได้รับการอนุรักษ์ ทำนุบำรุงและสืบสานสามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขเป็นธรรมและเสมอภาคอีกทั้งประชาชน/ชุมชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 
กลยุทธ์ / แนวทางการพัฒนา และตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์
กลยุทธ์ / แนวทางการพัฒนา
ตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์
2.1 การพัฒนาการศึกษาทุกระดับ
- ร้อยละของประชาชน/นักเรียนที่ได้รับการศึกษา
2.2 ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการบริการสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่
2.3 ส่งเสริม สนับสนุน การจัดสวัสดิการประชาชน
2.4 การสงเคราะห์ พัฒนาคุณภาพชีวิต ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย
2.5 อนุรักษ์  และส่งเสริมการฟื้นฟูวัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาของท้องถิ่น
2.6 การเสริมสร้างองค์ความรู้ภาคประชาชน
2.7 เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนมุ่งสู่ประชาคมอาเซียน
- จำนวนประชาชนที่ได้รับการบริการสาธารณสุข
- จำนวนประชาชนที่ได้รับสวัสดิการ
- จำนวนประชาชนที่ได้รับการสงเคราะห์และการพัฒนาคุณภาพชีวิต
-จำนวนประชาชนที่ได้รับการส่งเสริม ฟื้นฟูวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น
-จำนวนประชาชนที่ได้รับความรู้ภาคประชาชน
-มีกระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
          สำนักปลัด/กองการศึกษา/กองสวัสดิการฯ/กองวิชาการฯ/กองสาธารณสุขฯ
ความเชื่อมโยง
          ๑. ยุทธศาสตร์จังหวัดพะเยา ยุทธศาสตร์ที่ ๒ สร้างคุณภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
          ๒. ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดพะเยา ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านพัฒนาสังคม การศึกษาและวัฒนธรรม และยุทธศาสตร์ที่ ๕ ด้านส่งเสริมการบริหารจัดการตามหลัก  ธรรมาภิบาล

 ๓. ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
พันธกิจ 
          บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
เป้าประสงค์  
          ทรัพยากรธรรมชาติได้รับการอนุรักษ์ ฟื้นฟู